|
|
|
|
|
 |
องค์การบริหารส่วนตำบลไทยชนะศึก ได้รับจัดตั้งจากสภาตำบลเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล ลงวันที่ 19 มกราคม 2539 และประกาศดังกล่าวลงในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 113 ตอนที่ 9 ง ลงวันที่ 30 มกราคม 2539 ลำดับที่ 1847 ปัจจุบันเป็น องค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นอาคารเดี่ยว 2 ชั้น กว้าง 7 เมตรยาว 16 เมตร ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ.2543 งบประมาณ 1,946,000 บาท ตามแบบโยธาธิการ จ.นครปฐม เลขที่ 44/2540 |
|
|
|
|
ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลไทยชนะศึก อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอทุ่งเสลี่ยมประมาณ 3 กิโลเมตร ตั้งอยู่เลขที่ 363 หมู่ที่ 2 ตำบลไทยชนะศึก อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 83.72 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 52,325 ไร่
|
|
 |
|
|
    |
|
    |
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.บ้านแก่ง |
อ.ศรีสัชนาลัย |
จ.สุโขทัย |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.บ้านใหม่ไชยมงคล |
อ.ทุ่งเสลี่ยม |
จ.สุโขทัย |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.เขาแก้วศรีสมบูรณ์ |
อ.ทุ่งเสลี่ยม |
จ.สุโขทัย |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ต.ทุ่งเสลี่ยม |
อ.ทุ่งเสลี่ยม |
จ.สุโขทัย |
|
|
|
    |
|
    |
|
|
|
 |
ประชากรส่วนใหญ่ในตำบลไทยชนะศึก ประกอบอาชีพทางการเกษตรโดยมีพื้นที่ทางการเกษตรทั้งหมด จำนวน 46,331 ไร่ แยกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้ |

 |
ทำนา ประชากรในตำบลไทยชนะศึก ประกอบอาชีพทำนาเป็นอาชีพหลักโดยมีพื้นที่ทั้งหมด จำนวน 17,129 ไร่ |

 |
ทำไร่ ตำบลไทยชนะศึก ประกอบอาชีพทำไร่ และมีพื้นที่ทำไร่ จำนวน 26,485 ไร่ แยกเป็นพืชไร่ ดังนี้ ถั่วเขียว ปลูกมากเป็นอันดับ 1 พื้นที่ปลูก จำนวน 3,377 ไร่ ถั่วเหลือง อ้อย (โรงงาน) ข้าวโพด และอื่นๆ |
|
|
|

 |
ทำสวน มีพื้นที่ในการทำสวนผลไม้ จำนวน 1,936 ไร่ สวนผลไม้ที่นิยมปลูกกันมากคือ สวนมะม่วง เป็นพืชสวนที่นิยมปลูกกันมากในตำบลเป็นพื้นที่ จำนวน 1,459 ไร่ สวนลำไย สวนมะขาม และอื่นๆ |
|

 |
เลี้ยงสัตว์ สัตว์ที่นิยมเลี้ยงมีดังนี้ โคเนื้อ จำนวน 2,173 ตัว โคนม จำนวน 231 ตัว สุกร จำนวน 296 ตัว กระบือ จำนวน 21 ตัว เป็ด จำนวน 140 ตัว สุนัข จำนวน 799 ตัว ไก่พื้นเมือง จำนวน 3.297 ตัว |
|

 |
ปลูกพืชผัก จำนวน 316 ไร่ ไม้ดอกไม้ประดับ จำนวน 120 ไร่ |
|

 |
อุตสาหกรรมในครัวเรือน หมายถึง การลงทุนจัดหาวัตถุดิบมาทำการผลิตแล้วจำหน่ายด้วยตนเองหรือรับจ้างทำโดยมีผู้จัดหาวัตถุดิบมาให้ได้แก่ การทำอิฐบล็อก การตีเหล็ก ตัดเย็บเสื้อผ้า จักสานตะกร้าจากไม้ไผ่ ทำไม้กวาด กระเช้าจากเศษวัสดุเหลือใช้ ดอกไม้ประดิษฐ์ ตะกร้าจากสมุดโทรศัพท์ |
|

 |
ค้าขาย ได้แก่ การขายของชำต่างๆ และการรับจ้างทั่วไป |
|
|
    |
|
    |
|
|
|
 |
จำนวนประชากรทั้งหมด 8,209 คน แยกเป็น |

 |
ชาย จำนวน 4,083 คน |
คิดเป็นร้อยละ 49.74 |

 |
หญิง จำนวน 4,126 คน |
คิดเป็นร้อยละ 50.26 |
จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 2,764 ครัวเรือน |
ความหนาแน่นเฉลี่ย 98.05 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
|
 |
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านท่าต้นธง |
427 |
451 |
878 |
285 |
|
 |
2 |
|
บ้านแม่ทุเลา |
383 |
384 |
767 |
316 |
 |
|
3 |
|
บ้านคลองสำราญ |
324 |
376 |
700 |
221 |
|
 |
4 |
|
บ้านฝั่งหมิ่น |
416 |
421 |
837 |
250 |
 |
|
5 |
|
บ้านหนองหมื่นชัย |
537 |
535 |
1,072 |
402 |
|
 |
6 |
|
บ้านธารชะอม |
378 |
347 |
725 |
248 |
 |
|
7 |
|
บ้านหนองหญ้าปล้อง |
343 |
304 |
647 |
235 |
|
 |
8 |
|
บ้านราษฎร์ร่วมจิต |
365 |
385 |
750 |
231 |
 |
|
9 |
|
บ้านสำราญราษฎร์ |
356 |
367 |
723 |
247 |
|
 |
10 |
|
บ้านแม่ทุเลาพัฒนา |
311 |
308 |
619 |
189 |
 |
|
11 |
|
บ้านท่าต้นธงพัฒนา |
243 |
248 |
491 |
140 |
|
 |
|
|
รวม |
4,083 |
4,126 |
8,209 |
2,764 |
 |
|
|
สถิติจากทะเบียนบ้านแยกรายพื้นที่ระดับตำบล ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2559 |
|
    |
|
|
|
|